ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 7 คน
dot
dot

dot


ฟัง F.M. 103.25 MHz.
ชมทีวีช่องหลวงตา
ฟังวิทยุออนไลน์ วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ขอเชิญสมัครสมาชิกอุปถัมภ์สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม face book วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม twitter วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน


๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม article

๑๐. อุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ         อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ
       สุสํวิหิตกมฺมนฺโต                 ส ราชวสตึ วเส.

       ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงาน
       เรียบร้อย. จึงควรอยู่ในราชการ.
       (พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙.


 

๑๑. ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา        น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ
        น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ         ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย.

        ถ้าคนพึงทำบาป ก็ไม่ควรทำบาปนั้นบ่อย ๆ ไม่ควรทำความพอ
        ใจในบาปนั้น เพราะการสั่งสมบาป นำทุกข์มาให้.
        (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.

 

 

 ๑๒.  โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ        กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ 
          ปจฺฉา กิจฺเจ สมุปฺปนฺเน        กตฺตารํ นาธิคจฺฉติ.

          ผู้อื่นทำความดีให้ ทำประโยชน์ให้ก่อน แต่ไม่สำนึกถึง
          (บุญคุณ) เมื่อมีกิจเกิดขึ้นภายหลัง จะหาผู้ช่วยทำไม่ได้.
          (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๙.



๑๓.  สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสฺส       สพฺเพ ภายนฺติ มจฺจุโน
         อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา            น หเนยฺย น ฆาตเย.

         สัตว์ทั้งปวง หวาดต่ออาญา ล้วนกลัวต่อความตาย ควรทำตน
         ให้เป็นอุปมาแล้ว ไม่ฆ่าเขาเอง ไม่พึงให้ผู้อื่นฆ่า (ผู้อื่น).
         (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.




พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓

๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน article
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท article
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส
๕. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๖. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๗. ทานวรรค คือ หมวดทาน
๘. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๙. ปกิรณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๑. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๑๒. มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย
๑๓. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๑๔. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร
๑๕. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๖. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๗. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล *
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล