ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 17 คน
dot
dot

dot


ฟัง F.M. 103.25 MHz.
ชมทีวีช่องหลวงตา
ฟังวิทยุออนไลน์ วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ขอเชิญสมัครสมาชิกอุปถัมภ์สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม face book วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม twitter วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน


๑๖. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา

๑๖๔.  กลฺยาณิเมว  มุญฺเจยฺย                 น  หิ  มุญฺเจยฺย  ปาปิกํ
           โมกฺโข  กลฺยาณิยา  สาธุ            มุตฺวา  ตปฺปติ  ปาปิกํ.
     

           พึงเปล่งวาจางามเท่านั้น  ไม่พึงเปล่งวาจาชั่วเลย  การเปล่งวาจา
           งามยังประโยชน์ให้สำเร็จ  คนเปล่าวาจาชั่วย่อมเดือดร้อน.
           (พุทฺธ)                                        ขุ.  ชา.  เอก.  ๒๗/๒๘.

       

๑๖๕.  ตเมว  วาจํ  ภาเสยฺย           ยายตฺตานํ  น  ตาปเย
           ปเร  จ  น  วิหึเสยฺย             สา  เว  วาจา  สุภาสิตา.
      

           บุคคลพึงกล่าววาจาที่ไม่เป็นเหตุยังตนให้เดือดร้อน  และไม่เป็น
           เหตุเบียดเบียนผู้อื่น,  วาจานั้นแล  เป็นสุภาษิต.
           (วงฺคีสเถร)                                  ขุ.  สุ.  ๒๕/๔๑๑.

     

๑๖๖.  นาติเวลํ  ปภาเสยฺย   น            ตุณฺหี  สพฺพทา  สิยา
           อวิกิณฺณํ  มิตํ  วาจํ                 ปตฺเต  กาเล  อุทีริเย.
      

           ไม่ควรพูดจนเกินกาล  ไม่ควรนิ่งเสมอไป  เมื่อถึงเวลา  ก็ควรพูด 
            พอประมาณ  ไม่ฟั่นเฝือ.
            (พุทฺธ)                                        ขุ.  ชา.  มหา.  ๒๘/๓๓๘.

       

๑๖๗.  ปิยวาจเมว  ภาเสยฺย            ยา  วาจา  ปฏินนฺทิตา
           ยํ  อนาทาย  ปาปานิ             ปเรสํ  ภาสเต  ปิยํ.
      

           ควรกล่าววาจาที่น่ารักอันผู้ฟังยินดีเท่านั้น  เพราะคนดีไม่นำพา
           คำชั่วของผู้อื่นแล้ว  กล่าวแต่คำไพเรา.
           (วงฺคีสเถร)                                   ขุ.  สุ.  ๒๕/๔๑๒.

       

๑๖๘.  ปุริสสฺส  หิ  ชาตสฺส             กุธารี  ชายเต  มุเข
           ยาย  ฉินฺทติ  อตฺตานํ          พาโล  ทุพฺภาสิตํ  ภณํ.
      

           คนที่เกิดมา  มีผึ่งเกิดอยู่ในปาก   คนโง่กล่าวคำไม่ดี  ก็ชื่อว่า
           เอาผึ่งถากตัวเอง.
           (พุทฺธ)                                        องฺ.  ทสก.  ๒๔/๑๘๕.

   

๑๖๙.  ยญฺหิ  กยิรา  ตญฺหิ  วเท               ยํ  น  กยิรา  น  ตํ  วเท  
           อกโรนฺตํ  ภาสมานํ                       ปริชานนฺติ  ปณิฑิตา.
      

           บุคคลทำสิ่งใด  ควรพูดสิ่งนั้น  ไม่ทำสิ่งใด  ไม่ควรพูดสิ่งนั้น,
           บัณฑิตย่อมกำหนดรู้คนที่ไม่ทำ  ได้แต่พูด.
           (หาริตเถร)                                     ขุ.  เถร.  ๒๖/๓๐๙.
        
       

๑๗๐.  โย  อตฺตเหตุ  ปรเหตุ               ธนเหตุ  จ  โย  นโร
            สกฺขิปุฏฺโฐ  มุสา  พฺรูติ            ตํ  ชญฺญา  วสโล  อิติ. 

            คนใด  ถูกอ้างเป็นพยาน  เบิกความเท็จ  เพราะตนก็ดี  เพราะ
            ผู้อื่นก็ดี   เพราะทรัพย์ก็ดี  พึงรู้ว่าผู้นั้นเป็นคนเลว.
           (พุทฺธ)                                             ขุ.  สุ.  ๒๕/๓๕๐.

       

๑๗๑.  โย  นินฺทิยํ  ปสํสติ                     ตํ  วา  นินฺทติ  โย  ปสํสิโย
            วิจินาติ  มุเขน  โส  กลึ             กลินา  เตน  สุขํ  น  วินฺทติ.
    

             ผู้ใดสรรเสริญคนควรติ  หรือติคนที่ควรสรรเสริญ,  ผู้นั้นย่อม
             เก็บโทษด้วยปาก   เขาไม่ได้สุขเพราะโทษนั้น.
             (พุทธฺ)                                             องฺ.  จตุกฺก.  ๒๑/๔.

 

๑๗๒.  สหสฺสมปิ  เจ  วาจา            อนตฺถปทสญฺหิตา  
            เอกํ  อตฺถปทํ  เสยฺโย         ยํ  สุตฺวา  อุปสมฺมติ.
     

            ถ้ามีวาจาที่ประกอบด้วยข้อความซึ่งเป็นประโยชน์แม้ตั้งพัน,
            ข้อความที่เป็นประโยชน์  บทเดียว  ที่ฟังแล้วสงบระงับได้  ประเสริฐกว่า.
            (พุทฺธ)                                                ขุ.  ธ.  ๒๕/๒๘.




พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๒

๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน article
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท article
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม article
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส
๕. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๖. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๗. ทานวรรค คือ หมวดทาน
๘. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๙. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๑. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท
๑๒. ปาปวรรค คือ หมวดบาป
๑๓. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๑๔. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ
๑๕. มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย
๑๗. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร
๑๘. สัทธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
๑๙. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๒๐. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล *
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล