ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 11 คน
dot
dot

dot


ฟัง F.M. 103.25 MHz.
ชมทีวีช่องหลวงตา
ฟังวิทยุออนไลน์ วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ขอเชิญสมัครสมาชิกอุปถัมภ์สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม face book วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม twitter วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน


๖. จิตตวรรค คือ หมวดจิต

๓๐.  อนวฏฺฐิต   จิตฺตสฺส             สทฺธมฺมํ  อวิชานโต
        ปริปฺลวปสาทสฺส                ปญฺญา  น  ปริปูรติ.

        เมื่อมีจิตไม่มั่นคง  ไม่รู้พระสัทธรรม  มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย
        ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์.
        (พุทฺธ)                                               ขุ.ธ.  ๒๕/๒๐.

 

 

๓๑.  อปฺปมาณํ  หิตํ  จิตฺตํ               ปริปุณฺณํ  สุภาวิตํ
         ยํ   ปมาณํ  กตํ  กมฺมํ              น  ตํ  ตตฺราวสิสฺสติ.  
  

         จิตเกื้อกูลที่อบรมบริบูรณ์ดีแล้ว  เป็นจิตหาประมาณมิได้,  กรรม
         ใดที่ทำแล้วพอประมาณ  กรรมนั้นจักไม่เหลือในจิตนั้น.
         (อรกโพธิสตฺต)                                    ขุ.ชา.ทุก.  ๒๗/๕๙.

 


        
๓๒.  อานาปานสฺสติ  ยสฺส                อปริปุณฺณา  อภาวิตา
        กาโยปิ  อิญฺชิโต  โหติ              จิตฺตมฺปิ  โหติ  อิญฺชิตํ.

        สติกำหนดลมหายใจเข้าออก   อันผู้ใดไม่อบรมให้บริบูรณ์,  ทั้ง
        กายทั้งจิตของผู้นั้นก็หวั่นไหว.
        (สารีปุตฺต)                                           ขุ.ปฏฺ.  ๓๑/๒๕๐.

 

 

๓๓.  อานาปานสฺสติ   ยสฺส              ปริปุณฺณา  สุภาวิตา
        กาโยปิ  อนิญฺชิโต  โหติ          จิตฺตมฺปิ  โหติ  อนิญฺชิตํ.

        สติกำหนดลมหายใจเข้าออก  อันผู้ใดอบรมบริบูรณ์ดีแล้ว,  ทั้ง
        กายทั้งจิตของผู้นั้นก็ไม่หวั่นไหว.
        (สารีปุตฺต)                                            ขุ.ปฏิ.  ๓๑/๒๕๐.

 

 

๓๔.  ทิโส  ทิสํ  ยนฺตํ  กยิรา                 เวรี  วา  ปน  เวรินํ   
        มิจฺฉาปณิหิตํ  จิตฺตํ                     ปาปิโย  นํ  ตโต  กเร.

         โจรกับโจรหรือไพรีกับไพรี   พึงทำความพินาศให้แก่กัน,  ส่วน
         จิตที่ตั้งไว้ผิด  พึงทำเขาให้เสียหายยิ่งกว่านั้น.
         (พุทฺธ)                                                ขุ.ธ.  ๒๕/๒๐.

 

 

๓๕.  ทูรงฺคมํ  เอกจรํ                               อสรีรํ  คุหาสยํ
        เย  จิตฺตํ  สญฺญเมสฺสนฺติ                  โมกฺขนฺติ  มารพนฺธนา.

         ผู้ใดจักสำรวมจิตที่ไปไกล  เที่ยวไปดวงเดียว  ไม่มีรูปร่าง  มีถ้ำ
         (คือกาย)  เป็นที่อาศัย,  ผู้นั้นจักพ้นจากเครื่องผู้ของมารได้.
         ให้ตรงได้  เหมือนช่างศรทำลูกศรให้ตรงได้ฉะนั้น.
         (พุทฺธ)                                                  ขุ.ธ.  ๒๕/๑๙,๒๐.

 

 

๓๖.  น  ตํ  มาตา  ปิตา  กยิรา                   อญฺเญ  วาปิจ  ญาตกา
        สมฺมาปณิหิตํ  จิตฺตํ                           เสยฺยโส  นํ  ตโต  กเร.

        มารดาบิดาหรือญาติเหล่าอื่น   ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้,  ส่วนจิต
        ที่ตั้งไว้ดีแล้ว  พึงทำเขาให้ดีกว่านั้น.
        (พุทฺธ)                                                    ขุ.ธ.  ๒๕/๒๐.

 

 

๓๗.  ผนฺทนํ  จปลํ  จิตฺตํ                  ทุรกฺขํ  ทุนฺนิวารยํ   
        
อุชุํ  กโรติ  เมธาวี                  อุสุกาโรว  เตชนํ. 

         คนมีปัญญาทำจิตที่ดิ้นรน   กวัดแกว่ง  รักษายาก  ห้ามยาก
         ให้ตรงได้   เหมือนช่างศรทำลูกศรให้ตรงได้ฉะนั้น.
         (พุทฺธ)                                                ขุ.ธ.  ๒๕/๑๙.
        

 


๓๘.  ยถา  อคารํ  ทุจฺฉนฺนํ                   วุฏฺฐี  สมติวิชฺฌติ
        เอวํ  อภาวิตํ  จิตฺตํ                       ราโค  สมติวิชฺฌติ.
  

        ฝนย่อมรั่วรดเรือนที่มุงไม่ดีฉันใด,   ราคะย่อมรั่วรดจิตที่ไม่ได้
        อบรมฉันนั้น.
        (พุทฺธ)                                                  ขุ.ธ.  ๒๕/๑๖.

 

 

 ๓๙.  โย  จ  สทฺทปฺปริตฺตาสี         วเน  วาตมิโต  ยถา
         ลหุจิตฺโตติ  ตํ  อาหุ             นาสฺส  สมฺปชฺชเต  วตํ.

         ผู้ใด  มักหวาดสะดุ้งต่อเสียง   เหมือนเนื้อทรายในป่า,  ท่านเรียก
         ผู้นั้นว่ามีจิตเบา,  พรตของเขาย่อมไม่สำเร็จ.
         (อญฺญตฺรภิกฺขุ)                                        สํ.ส.  ๑๕/๒๙๖.

 

 

๔๐.  วาริโชว  ถเล  ขิตฺโต                โอกโมกตอุพฺกโต     
        ปริผนฺทติทํ  จิตฺตํ                      มารเธยฺยํ  ปหาตเว.

        จิตนี้ถูกยกขึ้นจากอาลัยคือกามคุณ  เพื่อละที่ตั้งแห่งมาร  ย่อม
        ดิ้นรน  เหมือนปลาถูกจับขึ้นจากน้ำโยนไปบนบกฉะนั้น.
        (พุทฺธ)                                                 ขุ.ธ.  ๒๕/๑๙.

 


        
๔๑.  สญฺญาย  วิปรีเยสา                จิตฺตนฺเต  ปริฑยฺหติ
        นิมิตฺตํ  ปริวชฺเชหิ                   สุภํ  ราคูปสญฺหิตํ.
  

        จิตของท่านย่อมเดือดร้อน   เพราะเข้าใจผิด,  ท่านจงเว้นเครื่อง
        หมายที่สวยงามประกอบด้วยความรัก.
        (อานนฺท)                                                สํ.ส.  ๑๕/๒๗๗.

 


        
๔๒.  เสโล  ยถา  เอกฆโน              วาเตน  น  สมีรติ
         เอวํ  นินฺทาปสํสาสุ                น  สมิญฺชนฺติ   ปณฺฑิตา.
  

         ภูเขาหินแท่งทึบ  ไม่สั่นสะเทือนเพราะลมฉันใด,  บัณฑิตย่อมไม่
         หวั่นไหวในนินทาและสรรเสริญฉันนั้น.
         (พุทฺธ)                                                 ขุ.ธ.  ๒๕/๒๕. 




พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๒

๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน article
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท article
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม article
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส
๕. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๗. ทานวรรค คือ หมวดทาน
๘. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๙. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๑. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท
๑๒. ปาปวรรค คือ หมวดบาป
๑๓. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๑๔. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ
๑๕. มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย
๑๖. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๑๗. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร
๑๘. สัทธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
๑๙. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๒๐. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล *
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล