ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 11 คน
dot
dot

dot


ฟัง F.M. 103.25 MHz.
ชมทีวีช่องหลวงตา
ฟังวิทยุออนไลน์ วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ขอเชิญสมัครสมาชิกอุปถัมภ์สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม face book วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม twitter วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน


๕. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน

๔๐.  ขนฺติ  ธีรสฺส ลงฺกาโร        ขนฺติ  ตโป  ตปสฺสิโน
        ขนฺติ  พลํ  ว  ยตีนํ            ขนฺติ  หิตสุขาวหา.
        

         ขันติเป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์  ขันติเป็นตบะของผู้
         พากเพียร  ขันติเป็นกำลังของนักพรต  ขันตินำประโยชน์สุขมาให้.
                                                            ส.  ม.  ๒๒๒.
   

๔๑.  น  สุทฺธิ  เสจเนน  อตฺถิ           นปิ  เกวลี  พฺราหฺมโณ
         น  เจว  ขนฺติ  โสรจฺจํ             นปิ  โส  ปรินิพฺพุโต.
         

         ความบริสุทธิ์ก็ดี  ผู้ที่จะประเสริฐล้วนก็ดี  ขันติและโสรัจจะก็ดี
         จะเป็นผู้เย็นสนิทก็ดี  ย่อมไม่มี  เพราะการชำระล้าง  (ด้วยน้ำ).
          (โพธิสตฺต)                                  ขุ.  ชา.  ปกิณฺณก.  ๒๗/๓๗๖.

                     

๔๒.  นเหตมตฺถํ  มหตีปิ  เสนา
         สราชิกา  ยุชฺฌมานา  ลเภถ
         ยํ  ขนฺติมา  สปฺปุริโส  ลเภถ
         ขนฺติพลสฺสูปสมตฺติ  เวรา.
          

         เสนาแม้หมู่ใหญ่  พร้อมด้วยพระราชา  รบอยู่  ไม่พึงได้
         ประโยชน์ที่สัตบุรุษผู้มีขันติพึงได้,  (เพราะว่า)   เวรทั้งหลายของผู้มี
         ขันติเป็นกำลัง  ย่อมสงบระงับ.
         (โพธิสตฺต)                                  ขุ.  ชา.  จตฺตาฬีส.  ๒๗/๕๓๘.




พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓

๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน article
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท article
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม article
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส
๖. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๗. ทานวรรค คือ หมวดทาน
๘. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๙. ปกิรณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๑. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๑๒. มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย
๑๓. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๑๔. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร
๑๕. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๖. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๗. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล *
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล