ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 25 คน
dot
dot

dot


ฟัง F.M. 103.25 MHz.
ชมทีวีช่องหลวงตา
ฟังวิทยุออนไลน์ วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
ชมคลิปวีดีโอน่าสนใจ
ขอเชิญสมัครสมาชิกอุปถัมภ์สถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม face book วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน
เข้าชม twitter วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน


๑๓. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา

๑๙๑.  อกกฺกสํ  วิญฺญาปนึ           คิรํ  สจฺจํ  อุทีรเย
           ยาย  นาภิสเช  กญฺจิ         ตมหํ  พฺรูมิ  พฺราหฺมณํ.

           ผู้ใด  พึงกล่าวถ้อยคำอันไม่เป็นเหตุให้ใคร ๆ  ขัดใจ  ไม่
           หยาบคาย  เป็นเครื่องให้รู้ความได้และเป็นคำจริง,  เราเรียกผู้นั้นว่า
           เป็นพราหมณ์.
           (พุทฺธ)                                       ขุ.  ธ.  ๒๕/๗๐.

                      

๑๙๒.  อกฺโกธโน  อสนฺตาสี             อวิกตฺถี อกุกฺกุจฺโจ
           มนฺตาภาณี  อนุทฺธโต           ส  เว  วาจายโต  มุนิ.

           ผู้ใด  ไม่โกรธ  ไม่สะดุ้ง  ไม่โอ้อวด  ไม่รำคาญ  พูดด้วยปัญญา
           ไม่ฟุ้งซ่าน  ผู้นั้นแลชื่อว่า  เป็นมุนี  มีวาจาสำรวมแล้ว.
           (พุทฺธ)          ขุ.  สุ.  ๒๕/๕๐๐.    ขุ.  มหา.  ๒๙/๒๕๗.

       

๑๙๓.  อพทฺธา  ตตฺถ  พชฺฌนฺติ          ยตฺถ  พาลา  ปภาสเร
           พทฺธาปิ  ตตฺถ  มุจฺจนติ            ยตฺถ  ธรีรา  ปภาสเร.

           คนเขลา  ย่อมกล่าวในเรื่องใด  ไม่ถูกผูกก็ติดในเรื่องนั้น, คน
           ฉลาดย่อมกล่าวในเรื่องใด  แม้ถูกผูก  ก็หลุดในเรื่องนั้น.
           (โพธิสตฺต)                               ขุ.  ชา.  เอก.  ๒๗/๓๙.

                    

๑๙๔.  ปรสฺส  วา  อตฺตโน  วาปิ  เหตุ
            น  ภาสติ  อลิกํ  ภูริปญฺโญ
            โส  ปูชิโต  โหติ  สภาย  มชฺเฌ
            ปจฺฉาปิ  โส  สุคติคามิ  โหติ.

            ผู้มีภูมิปัญญา  ย่อมไม่พูดพล่อย ๆ  เพราะเหตุแห่งคนอื่น
            หรือตนเอง  ผู้นั้นย่อมมีผู้บูชาในท่ามกลางชุมชน  แม้ภายหลังเขา
            ย่อมไปสู่สุคติ.
            (มโหสธโพธิสตฺต)                   ขุ.  ชา.  วีสติ.  ๒๗/๔๒๗.

         

๑๙๕.  ยํ  พุทฺโธ  ภาสตี  วาจํ           เขมํ  นิพฺพานปตฺติยา
           ทุกฺขสฺสนฺตกิริยาย                สา  เว  วาจานมุตฺตมา.

            พระพุทธเจ้าตรัสพระวาจาใด  เป็นคำปลอดภัย  เพื่อบรรลุพระ
            นิพพาน  และเพื่อทำที่สุดทุกข์,  พระวาจานั้นแล  เป็นสูงสุดแห่งวาจา
            ทั้งหลาย.
            (วงฺคีสเถร)                               ขุ.  เถร.  ๒๖/๔๓๔.

         

๑๙๖.  สจฺจํ  เว  อมตา  วาจา              เอส  ธมฺโธ  สนนฺตโน
           สจฺเจ  อตฺเถ  จ  ธมฺเม  จ           อหุ  สนฺโต  ปติฏฺฐิตา.

           คำสัตย์แล  เป็นวาจาไม่ตาย  นั่นเป็นธรรมเก่า  สัตบุรุษทั้งหลาย
           เป็นผู้ตั้งมั่นในคำสัตย์ที่เป็นอรรถและเป็นธรรม.
           (วงฺคีสเถร)                                ขุ.  เถร.  ๒๖/๔๓๔.




พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓

๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน article
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท article
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม article
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส
๕. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๖. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๗. ทานวรรค คือ หมวดทาน
๘. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๙. ปกิรณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๑. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๑๒. มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย
๑๔. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร
๑๕. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๖. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๗. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล *
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล