
๔. กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส ๑๔. อนิจฺจา อทฺธุวา กามา พหุทุกฺขา มหาวิสา กามทั้งหลาย ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีทุกข์มาก มีพิษมาก ดัง
ก้อนเหล็กที่ร้อนจัด เป็นต้นเค้าแห่งความคับแค้น มีทุกข์เป็นผล.
(สุเมธาเถรี) ขุ. เถรี. ๒๖/๕๐๓.
๑๕. อวิชฺชาย นิวุโต โลโก เววิจฺฉา ( ปมาทา ) นปฺปกาสติ
ชปฺปาภิเลปนํ พฺรูมิ ทุกฺขมสฺส มหพฺภยํ.
โลกถูกอวิชชาปิดบังแล้ว ไม่ปรากฏ เพราะความตระหนี่
(และความประมาท) เรากล่าวความอยากว่า เป็นเครื่องฉาบทาโลก ทุกข์เป็นภัยใหญ่ของโลกนั้น. (พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๐. ขุ. จู. ๓๐/๙. ๑๖. อิจฺฉาย พชฺฌตี โลโก อิจฺฉาวินยาย มุจฺจติ
อิจฺฉาย วิปฺปหาเนน สพฺพํ ฉินฺทติ พนฺธนํ. โลกถูกความอยากผูกมัดไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก,
๑๗. อิจฺฉา นรํ ปริกสฺสติ อิจฺฉา โลกสฺมิ ทุชฺชหา ความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก,
๑๘. อุเปกฺขโก สทา สโต น โลเก มญฺญตี สมํ ผู้วางเฉยมีสติทุกเมื่อ ไม่สำคัญตนว่าเสมอเขา ว่าดีกว่าเขา
๑๙. อุจฺฉินฺนภวตณฺหสฺส สนฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขุโน ภิกษุผู้ถอนภวตัณหาได้แล้ว มีจิตสงบแล้ว สิ้นความเวียน
๒๐. เอวมาทีนวํ ญตฺวา ตณฺหา ทุกฺขสฺส สมฺภวํ ภิกษุรู้โทษอย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์แล้ว พึง
๒๑. กามา หิ จิตฺรา มธุรา มโนรมา กามทั้งหลาย ตระการหวานชื่นใจ ย่อมย่ำยีจิตโดยรูปร่างต่าง ๆ
๒๒. โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง, (เพราะ) เครื่องข้องทั้งหลาย ย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีกังวลนั้น
๒๓. โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ ทั้งปวง, (เพราะ) ทุกข์ทั้งหลายย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องอยู่ในนามรูปไม่มีกังวลนั้น.
๒๔. ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน สัตว์ยังท่องเที่ยวไป
๒๕. ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน สัตว์ยังท่องเที่ยวไป (พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๕๑.
นักธรรมเอก - พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓ - หน้าที่ 10
๒๖. ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน สัตว์ยังท่องเที่ยวไป
๒๗. ตณฺหาย อุฑฺฑิโต โลโก ชราย ปริวาริโต โลกถูกตัณหาก่อขึ้น ถูกชราล้อมไว้ ถูกมฤตยูปิดไว้ จึงตั้งอยู่ในทุกข์.
๒๘. นนฺทิสมฺพนฺธโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณํ โลกมีความเพลิดเพลินเป็นเครื่องผูก มีวิตกเป็นเครื่องเที่ยวไป
๒๙. นิทฺทํ ตนฺทึ สเห ถีนํ ปมาเทน น สํวเส คนที่นึกถึงพระนิพพาน พึงครอบงำความหลับ ความเกียจคร้าน ความท้อแท้, ไม่พึงอยู่ด้วยความประมาท ไม่พึงตั้งอยู่ในความทะนงตัว. (พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๘.
๓๐. นิราสตฺตี อนาคเต อตีตํ นานุโสจติ ผู้ไม่คำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไป
๓๑. ปุราณํ นาภินนฺเทยฺย นเว ขนฺติมกุพฺพเย ไม่พึงเพลิดเพลินของเก่า ไม่พึงทำความพอใจในของใหม่ เมื่อ
๓๒. มจฺจุนาพฺภาหโต โลโก ชราย ปริวาริโต สัตว์โลกถูกมฤตยูขจัดแล้ว ถูกชราล้อมไว้ ถูกลูกศรคือตัณหา
๓๓. มานุเปตา อยํ ปชา มานคนฺถา มานวินิพฺพทฺธา หมู่สัตว์นี้ประกอบด้วยมานะ มีมานะเป็นเครื่องร้อยรัด ถูก
๓๔. มูฬฺโห อตฺถํ น ชานาติ มูฬฺโห ธมฺมํ น ปสฺสติ ผู้หลงย่อมไม่รู้อรรถ ผู้หลงย่อมไม่เห็นธรรม ความหลง
๓๕. ยสฺส นตฺถิ อิทํ เมติ ปเรสํ วาปิ กิญฺฺจนํ ผู้ใดไม่มีกังวลว่า นี้ของเรา นี้ของผู้อื่น ผู้นั้นเมื่อไม่ถือว่า
๓๖. โยธ กาเม อจฺจุตฺตริ สงฺคํ โลเก ทุรจฺจยํ ผู้ใดข้ามพ้นกามในโลกและเครื่องข้องที่ข้ามได้ยากในโลก, ผู้นั้น
๓๗. โย เว อวิทฺวา อุปธึ กโรติ ผู้ใดไม่รู้ ย่อมก่ออุปธิ ผู้นั้นเป็นคนเขลา เข้าถึงทุกข์บ่อย ๆ
๓๘. ลุทฺโธ อตฺถํ น ชานาติ ลุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ ผู้โลภ ย่อมไม่รู้อรรถ ผู้โลภย่อมไม่เห็นธรรม, ความโลภเข้า
๓๙. วนํ ฉินฺทถ มา รุกฺขํ วนโต ชายตี ภยํ ท่านทั้งหลายจงตัดป่า (กิเลส) อย่าตัดต้นไม้, ภัยย่อมเกิด |