
ปั ญ ห า ติ ด ก า ร พ นั น | |||||||||||||||||||||||||||||||||
การ พ นั น จัดว่าเสพติดด้วยหรือ ในอดีต พฤติกรรมการติด (Addiction) มักถูกตีความให้หมายถึงการติดสารทางเคมี ที่มีคุณสมบัติทำให้เสพติดได้ เช่น ยาบ้า กัญชา ฝิ่น บุหรี่ เหล้า เท่านั้น แต่ในปัจจุบันมีการให้ความหมายที่กว้างขึ้นว่าพฤติกรรมการติดนี้ มีความหมายรวมถึงสิ่งที่ไม่ใช่สารเคมี เช่น พฤติกรรมการติดการ*** ติดอินเตอร์เนท ติดเกม เป็นต้น การ***มีหลายชนิด ทั้งแบบที่เล่นกันมานานแล้ว เช่น การเล่นไพ่ ซื้อลอตเตอรี่ ซื้อ*** ***กีฬา เล่นบิงโก ***กับเครื่องเล่น หรือ แบบที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ เช่น การ***ทางอินเตอร์เนต รวมไปจนถึง การเล่นหุ้นในตลาดหุ้นก็จัดเป็นการ***รูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้พบว่าการ***ชนิดใดที่ยิ่งได้รางวัลเร็วหรือเห็นผลประโยชน์เร็ว จะยิ่งทำให้ติดการ***ชนิดนั้นๆได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น ติดการ พ นั น เป็นจากนิสัยหรือจัดว่าป่วย? สำหรับสาเหตุของการเสพติดนั้น ปัจจุบันจัดว่าเป็นโรคทางสมอง โดยงานวิจัยได้พบว่า วงจรการทำงานของสมองของผู้ติดการ***มีลักษณะที่ต่างจากคนทั่วไป เช่น วงจรการควบคุมตนเอง นอกจากนี้สารสื่อประสาทในสมองชนิดหนึ่ง คือ serotonin อาจเสียสมดุลในผู้ที่ติดการ***โดยพบว่ามีระดับการทำงานลดลงการ***ในเพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน เพศหญิงมีแนวโน้มที่จะเล่นการ***แบบที่ไม่ต้องใช้ยุทธวิธี มีแนวโน้มที่จะเล่นเพื่อหลีกหนีปัญหาชีวิตมากกว่า มีแนวโน้มที่จะมีปัญหาการติดเหล้าหรือทำสิ่งผิดกฎหมายน้อยกว่า และมีแนวโน้มที่จะพยายามหาการความช่วยเหลือในการรักษาการติด***มากกว่าเพศชาย การติดการ***ก่อให้เกิดความบกพร่องในชีวิตทั้งทางด้านจิตใจ ร่างกาย สังคม หรืออาชีพอย่างรุนแรง มีผลกระทบต่อครอบครัวทั้งในแง่ความสัมพันธ์และการเงิน คนทั่วไปที่เล่นการ***อาจเล่นเพราะรู้สึกสนุกกับการที่ได้เสี่ยง หรือลุ้นที่จะชนะ*** ในขณะที่บางคนเล่นเพื่อทำให้อารมณ์ตนเองดีขึ้น หรือเพื่อหลีกหนีจากปัญหามรสุมในชีวิต จากการศึกษาพบว่ามีนัก***ประมาณ8 - 47% ติดสารเสพติดชนิดอื่น เช่น บุหรี่ เหล้า กัญชา ร่วมด้วย และพบกลุ่มอาการทางจิตเวชได้มากกว่าคนทั่วไป เช่น ปัญหาบุคลิกภาพโดยเฉพาะบุคลิกภาพแบบอันธพาล อาการซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย โดยพบการพยายามฆ่าตัวตายได้มากถึง 15 - 20% ของผู้ติดการ*** จะรู้ได้อย่างไรว่า เล่นการ พ นั น ถึงขั้นติดแล้ว? มีแบบคัดกรองการติดการ***แบบง่ายๆ ประกอบด้วยข้อคำถาม 20 ข้อ โดยหากตอบ “ใช่” ตั้งแต่ 7 ข้อขึ้นไปแสดงว่าบุคคลนั้นมีแนวโน้มที่จะมีปัญหาการเล่นการ*** ข้อคำถามทั้ง 20 ข้อ มีดังนี้ 1. เวลางานหรือเวลาเรียนของคุณเสียหายเพราะการ*** 2. การเล่นการ***ของคุณเคยทำให้ชีวิตครอบครัวไม่มีความสุข 3. การเล่นการ***ของคุณเคยทำให้คุณเสื่อมเสียชื่อเสียง 4. คุณเคยรู้สึกสำนึกผิดหลังจากเล่นการ*** 5. คุณเคยเล่นการ***เพื่อให้ได้เงินมาใช้หนี้***หรือแก้ปัญหาการเงิน 6. การ***ทำให้ความสามารถต่างๆในตัวคุณมีประสิทธิภาพน้อยลง 7. หลังจากเสีย*** คุณรู้สึกว่าต้องกลับมาเล่นอีกครั้งอย่างเร็วที่สุดและต้องเอาคืนของที่เสียไป 8. หลังจากชนะ*** คุณมีความต้องการอย่างรุนแรงที่จะเล่นอีกครั้งและเอาชนะให้มากขึ้น 9. บ่อยครั้งที่คุณเล่น***จนกระทั่งเหลือสตางค์สุดท้าย 10. คุณเคยยืมเงินเพื่อนำมาเป็นทุนในการเล่น*** 11. คุณเคยขายของใดๆ เพื่อนำมาเป็นทุนในการเล่น*** 12. คุณไม่เต็มใจที่จะใช้เงินจะใช้***ไปใช้ในการจับจ่ายใช้สอยอย่างอื่น 13. การ***ทำให้คุณไม่ใส่ใจต่อความเป็นอยู่ของตัวคุณเองหรือครอบครัวของคุณ 14. คุณเคยเล่นการ***นานกว่าที่คุณวางแผนไว้ 15. คุณเคยเล่นการ***เพื่อหลีกหนีจากความกังวลหรือปัญหาอื่น 16. คุณเคยกระทำหรือคิดจะกระทำผิดกฎหมายเพื่อนำเงินไปใช้เป็นทุนในการ*** 17. การ***ทำให้คุณนอนหลับยากขึ้น 18. การโต้เถียงกัน ความผิดหวัง หรือ ความรู้สึกอึดอัด ส่งผลให้คุณเกิดความอยากไปเล่นการ*** 19. คุณเคยมีความรู้สึกอยากฉลองเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นโดยการไปเล่น***สักสองสามชั่วโมง 20. คุณเคยทำร้ายตนเองหรือพยายามฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากการ***ของคุณ
การเกิดปัญหาติดการ พ นั น ในคนหนึ่งๆ สามารถแบ่งได้เป็นสามช่วง ดังนี้ 1. ระยะแรก-เป็นช่วงที่ผู้***ชนะรางวัลใหญ่ หรือ ชนะติดต่อกันหลายครั้ง ทำให้พวกเขามองมันในแง่ดีว่าจะมีการชนะเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ทำให้เขารู้สึกตื่นเต้นเมื่อได้***และเริ่มเพิ่มจำนวนเงินที่ใช้***มากขึ้นเรื่อยๆ 2. ระยะกลาง-ผู้เล่น***จะคุยโม้โอ้อวดเกี่ยวกับการที่ไปชนะการเล่น***บ่อยครั้ง และเริ่มที่จะเล่น***เองคนเดียว เริ่มคิดเกี่ยวกับการ***อยู่ตลอดและอาจยืมเงินครอบครัว เพื่อนฝูง หรือทำสิ่งผิดกฎหมายเพื่อให้ได้เงินมาใช้*** อาจเริ่มโกหกเกี่ยวกับการเล่นการ***กับเพื่อน หรือครอบครัว และเริ่มรู้สึกหงุดหงิดง่าย กระสับกระส่าย ไม่สุงสิงกับใคร ชีวิตครอบครัวเริ่มไม่มีความสุข และไม่สามารถหาเงินมาใช้หนี้ได้ เริ่มที่จะเล่น***เพื่อ “ตามเอาคืน” และอยากกลับมาเล่นอีกครั้งให้เร็วที่สุดเพื่อเอาชนะ***ที่เพิ่งเสียไป 3. ระยะสุดท้าย-เป็นช่วงที่เพิ่มการใช้เวลาไปกับการ***อย่างมาก โดยอาจมีความรู้สึกร่วมไปกับความรู้สึกผิด โทษคนอื่นและทำตัวเหินห่างแปลกแยกออกมาจากครอบครัวและเพื่อนฝูง ในที่สุดอาจจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งผิดกฎหมายเพื่อนำเงินมาใช้เป็นทุนในการ*** เขาอาจมีความรู้สึกสิ้นหวัง อยากตาย โดนตำรวจจับ หย่าร้าง หรือ มีปัญหาการใช้สารเสพติดชนิดอื่น เช่น เหล้า หรืออาจมีปัญหาทางอารมณ์
เล่นการ พ นั น ขั้นไหนถึงต้องรักษา? อาการหรืออาการแสดงของการติดการ***ตามเกณฑ์การวินิจฉัยของ American Psychiatric Association มีดังนี้ โดยได้จัดลำดับเป็นคำย่อ "WAGER OFTEN" เพื่อให้สะดวกในการจดจำได้ง่าย Withdrawal – รู้สึกกระสับกระส่ายหรือหงุดหงิดง่ายเวลาพยายามหยุดหรือลดการเล่น*** Affect significant relationship – ความสัมพันธ์กับบุคคลสำคัญ โอกาสในด้านการงาน การเรียน หรืออาชีพเสียไปเพราะการ*** Goal is to get even by chasing – หลังจากเสียเงิน***แล้ว ได้พยายามที่จะกลับไปเล่นเพื่อเอาเงินคืนบ่อยครั้ง Escape – เล่นการ***เพื่อหาทางออกจากปัญหา หรือให้มีความรู้สึกที่ดีขึ้นจากความรู้สึกไม่สบายใจ Rescue – ต้องให้บุคคลอื่นหาเงินมาช่วยให้พ้นจากการเป็นหนี้*** Outside the laws – ทำผิดกฎหมาย เช่น ปลอมแปลงเอกสาร ขโมยของ เพื่อให้ได้เงินมาใช้หนี้*** Failure to control – พยายามที่จะควบคุม ลด หรือ หยุดการเล่น***แต่ทำไม่สำเร็จบ่อยครั้ง Tolerance – ***ด้วยการเพิ่มปริมาณเงินมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้คงความรู้สึกตื่นเต้นเช่นเดิมไว้ Evades telling the truth – โกหกครอบครัว แพทย์ผู้รักษา หรือ บุคคลอื่นเพื่อปกปิดการเล่น***ของตนเอง Needs to think about gambling – ครุ่นคิดถึงแต่การ***อย่างมาก ทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับประสบการณ์การเล่น***ในอดีตของตนเอง ว่าเล่นได้หรือเสียอย่างไร รวมไปถึงการวางแผนล่วงหน้าว่าจะทำอย่างไรให้ชนะในคราวต่อไป หรือ คิดวิธีหาเงินเพื่อจะนำไปใช้ในการ***ครั้งต่อไป หากมีอาการข้างต้น 5ข้อหรือมากกว่า แสดงว่าติดการ*** แต่หากมี 3 หรือ 4 อาการ จัดว่าเป็นผู้มีปัญหาเกี่ยวกับการ*** และ หากมีเพียง 1 หรือ 2 ข้อ จะจัดเป็นผู้เล่น***ที่มีความเสี่ยง (at-risk gambler) ดังแสดงในตาราง ตาราง ชนิดต่างๆของนัก***
เมื่อติดการ พ นั น จะรักษาได้อย่างไร? แม้ว่าการติดการ***จะเป็นภาวะเรื้อรัง และมักจะกลับเป็นซ้ำได้บ่อยๆ แต่ก็เป็นภาวะที่สามารถรักษาได้ ผู้ติดการ***มักจะขอรับการรักษาเมื่ออาการเป็นมากจนมีปัญหาการเงินขั้นรุนแรง อย่างไรก็ตามการรักษาจะทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ติดการ***และครอบครัวโดยเฉพาะเรื่องการเงินดีขึ้น สำหรับแนวทางการรักษามักใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (behavioral therapy) การให้คำปรึกษา (counseling) หรือ อาจใช้วิธีการเปลี่ยนแนวคิด (cognitive therapy) และอาจให้เข้าร่วมกลุ่มเพื่อให้การสนับสนุนและให้กำลังใจในการเปลี่ยนพฤติกรรมการเล่นการ*** การรักษาด้วยยาอาจมีส่วนช่วยได้บ้าง แม้ว่ายาเหล่านี้ยังไม่ได้รับการรับรองว่าสามารถใช้ได้ผล แต่การให้การรักษาร่วมกันระหว่างการรักษาโดยไม่ใช้ยาร่วมกับการให้ยามีแนวโน้มที่จะทำให้ผลการรักษาออกมาดีที่สุดนอกจากนี้ควรรักษาโรคอื่นที่พบร่วมกับการติดการ*** เช่น ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล และ การติดสารเสพติดชนิดอื่น เช่น เหล้า บุหรี่ จะช่วยทำให้การติดการ***ดีขึ้นได้ กล่าวโดยสรุปการติดการ***เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งมีผลเสียที่รุนแรงตามมาไม่ว่าจะเป็นด้านครอบครัว สังคม หรือการเงิน การติดการ***เป็นความผิดปรกติทางสมองที่สามารถคัดกรองผู้ที่มีความผิดปรกตินี้ได้โดยง่ายจากแบบคัดกรองต่างๆ การติดการ***เป็นความผิดปรกติที่รักษาได้โดยการใช้พฤติกรรมบำบัด ร่วมกับการให้ยา ที่มาของบทความ - ภาควิชาจิตเวช คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| |||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ตั้งกระทู้ หมีพูห์แพนด้า :: วันที่ลงประกาศ 2023-02-09 11:34:15 |